You are here: Home / doc / Doc_thai_4.pdf

Doc_thai_4.pdf

25462548 ภายใตโครงการนํารองศึกษาในชุดโครงการ Assessment of Impact and Adaptation to Climate Change in Multiple Sectors and Multiple Regions (AIACC) (http://www.aiaccproject.org) โดยที่ทางศูนยเครือขายฯ ได ทําการศึกษาในโครงการยอย AIACC regional study AS07: Southeast Asia Regional Vulnerability to Changing Water Resource and Extreme Hydrological Events Due to Climate Change ซึ่งศึกษาถึงผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมอากาศตอทรัพยากรน้ําและการเกษตรในพื้นที่ที่อาศัยน้ําฝน ตลอดจนการประเมินภาวะเสี่ยง ิ ตอความเดือดรอนและแนวทางการปรับตัวตอสภาพภูมิอากาศในอนาคตของเกษตรกรในพื้นที่ของกลุมประเทศในเขต ลุมแมน้ําโขงตอนลาง ภายใตการศึกษาวิจัยภายใตโครงการนํารองดังกลาว ไดมีการจัดทําสถานการณจําลองสภาพภูมิอากาศขึ้น โดยใชเงื่อนไขที่ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดซึ่งเปนกาซเรือนกระจกที่สําคัญในบรรยากาศเพิ่มสูงขึ้นจาก 360ppm เปน 540ppm และ 720ppm หรือ เพิ่มขึ้นประมาณหนึ่งเทาครึ่งและสองเทาจากชวงทศวรรษที่ 1980 อันเปนชวงปฐานที่ ใชในการศึกษา (ซึ่งเมื่อพิจารณาจากแนวโนมการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดตามสถานการณจําลองตางๆ ใน IPCC Special Report on Emissions Scenarios (SRES) แลว อาจกลาวไดวา เปนชวงระยะเวลาประมาณชวงกลางและ  ปลายคริสตศตวรรษนี้) และไดใชแบบจําลองคณิตศาสตร CCAM climate model คํานวณสภาพอากาศรายวันของ ภูมภาคเปนเวลา 10 ปในแตละเงื่อนไขของสภาวะความเขมขนของกาซคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศ โดยทําการ ิ คํานวณในความละเอียดเชิงพื้นที่ที่มีความละเอียดสูง (10x10km) ทั้งนี้ไดผลสรุปวา ทิศทางและแนวโนมของการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศไทยในอนาคตจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่มีฝนมากขึ้นในเกือบทุกภาคของ ประเทศไทย สวนอุณหภูมิสูงสุดและต่ําสุดในประเทศไทยจะไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนัก อาจเพิ่มสูงขึ้นหรือลดลง ประมาณ 1-2ºC แตการเปลี่ยนแปลงในเชิงของอุณหภูมิที่สําคัญประการหนึ่งคือ จํานวนวันที่อากาศเย็นในรอบปจะ ลดลงอยางเห็นไดชัด และในทางกลับกัน จํานวนวันที่อากาศรอนในรอบปก็จะเพิ่มขึ้นมากเชนกัน (ตามรายงานนี้ยึด เกณฑวา วันที่อากาศเย็นคือ วันที่มีอุณหภูมิต่ําสุดต่ํากวา 15ºC และ วันที่อากาศรอนคือ วันที่มีอุณหภูมิสูงสุดเกินกวา 33ºC) ซึ่งหากจะกลาวในอีกนัยหนึ่งก็คือ แมวาประเทศไทยโดยเฉลี่ยแลวจะไมรอนขึ้นมากนัก แตจะรอนนานขึ้น กวาเดิมมาก โดยที่ฤดูรอนจะยาวขึ้นกวาเดิมอยางเห็นไดชัด และฤดูหนาวในประเทศไทยจะหดสั้นลง อีกประเด็นหนึ่งที่ มีความสําคัญก็คือ ความแปรปรวนหรือความแตกตางระหวางฤดูตอฤดู หรือ ในระหวางปตอปก็อาจเพิ่มสูงขึ้นดวย เชนกัน (Chinvanno and Snidvongs, 2007) ประเด็นที่สําคัญก็คือ การดําเนินการศึกษาโดยการจําลองสถานการณอนาคตขึ้นนั้น ยังคงมีความไมแนนอน อยูสูง ท้งนี้เนื่องจากเปนการมองภาพออกไปในอนาคตในระยะเวลาที่ยาวมาก ประกอบกับขอจํากัดดานอื่นๆ ในการ ั พัฒนาแบบจําลองทางคณิตศาสตรที่ใชกันอยูในปจจุบันนี้ ดังนั้น แนวทางการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศใน ิ ภูมิภาคและอนุภูมิภาคทีมีความละเอียดสูงนี้จึงมีความจําเปนที่จะตองทําการศึกษาโดยการจําลองสถานการณในอนาคต ขึ้นใหหลากหลาย ทั้งนี้อาจจะทําไดโดยการใชเครื่องมือและขอมูลจาก Global Circulation Model ที่แตกตางกัน และนํา สถานการณจําลองที่มีความละเอียดสูงเหลานั้นมาหาคาเฉลี่ย หรือ นํามาพิจารณารวมกันเพื่อหาขอสรุปถึงทิศทางและ ระดับของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคต ตัวอยางผลขั้นตนจากการทดลองศึกษาตามโครงการนํารอง หมายเหตุ: ผลการคํานวณเหลานี้ไมใชการพยากรณ แตเปนผลของการจําลองสภาพภูมิอากาศในอนาคต ภายใตสถานการณหนึ่งเทานั้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเห็นทิศทางและความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงในอนาคตพอ สังเขปเทานั้น 100°0'0"E 102°0'0"E 104°0'0"E 106°0'0"E Difference in annual r ainfall betwee n climat e condition under 540ppm CO2 and bas eline 14°0'0"N 10°0'0"N 14°0'0"N 10°0'0"N -5 00 00 -3 00 -4 00 00 00 >4 >2 >3 00 -2 00 -1 00 >0 >1 -1 10 0 <= >- 6°0'0"N ,0 00 -0 00 0 >4 ,0 0 ,0 00 ,0 00 -4 ,5 00 -3 ,5 00 100°0'0"E >3 >2 ,0 00 >2 98°0'0"E Difference in annual rainfall (mm) -2 -2 ,0 00 ,5 00 ,5 00 ,0 00 -1 >1 >1 <= 1, 00 0 Annual rainfall (mm) 6°0'0"N Differenc e in annual r ainfall between climat e c ondition un der 720ppm CO 2 a nd bas eline 18°0'0"N 22°0'0"N 360ppm CO 2 360 ppm Bas eline av erage a nnual r ainf all annual ainfall (1980-1 98 9) 18°0'0"N 22°0'0"N 98°0'0"E 102°0'0"E 104°0'0"E ภาพประกอบ 1: การเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝนเฉลี่ยตอปในประเทศไทยตามผลของแบบจําลอง ทางคณิตศาสตร – พื้นที่สวนใหญของประเทศไทยจะมีฝนมากขึ้น ในอนาคต China China 360 PPM CO2 B aselin e P PM Baselin Vietnam Avera ge Daily M aximu m te m per atur e mperature Myanmar China Cha nge in averag e d ail y ave rage maxi mum temp erat ure ma xi Di ffere nce betwe en cl imate Dif fere bet we cli mate Myanmar condi tion at CO = 7 20 Vietnam ppm 2 and Base li ne Cha nge in avera ge d ail y averag e maxi mum temp era ture erat ure Di ffe re nce betwe en cl ima te ffere imate Myanmar condi tio n a t CO2 = 5 40 ppm Vietnam tion at and Base li ne Laos Laos Laos Thailand Thailand Thailand Cambodia Cambodia China <Degree celcius> Vietnam Myanmar Cambodia <Degree celcius> Laos -3 >2 -1 -2 >1 >0 -0 Vietnam >1 to -1 -2 to >3 Vietnam >2 -3 Cambodia <= 4 2 -3 -3 >3 2 0 -3 >2 8 >3 0 8 -2 >2 6 <= 26 Vietnam Thailand Thailand Malaysia Indonesia Malaysia MalaysiaMalaysia Malaysia ภาพประกอบ 2: การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิสูงสุดในประเทศไทยตามผลของแบบจําลองทางคณิตศาสตร – ในระยะยาวแลว อุณหภูมิสูงสุดโดยเฉลี่ยในประเทศไทยจะเพิ่มสูงขึ้นประมาณ 1-2 องศาเซลเซียส China China 360 PPM C O2 Basel in e Averag e D ail y Min imu m t emp era t ur e Vietnam Dail Minimu Myanmar China Cha nge in a ve ra ge d aily minimum temper at ure Dif fere nce bet we en c limate Myanmar condition at CO2 = 5 40 ppm Vietnam and Base line Cha nge in a ve ra ge d aily minimum temper at ure Dif fere nce bet we en c limate Myanmar condit ion at CO2 = 7 20 ppm Vietnam and Base line Laos Laos Laos Thailand Thailand Thailand Cambodia Cambodia China <Degree celcius> Vietnam Myanmar Laos Cambodia <Degree celcius> -3 >2 -1 -2 >1 >0 -1 -0 1 to 2 >- Vietnam >- -3 -2 to <= Vietnam 3 >- 4 4 -2 2 >2 0 2 -2 0 >2 Cambodia >2 8 -2 >1 8 -1 -1 6 >1 4 >1 12 -1 4 6 Vietnam Thailand Thailand Malaysia Indonesia Malaysia MalaysiaMalaysia Malaysia ภาพประกอบ 3: การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิต่ําสุดในประเทศไทยตามผลของแบบจําลองทางคณิตศาสตร – ในระยะยาวแลว อุณหภูมิต่ําสุดโดยเฉลี่ยในประเทศไทยจะเพิ่มสูงขึ้นประมาณ 1-2 องศาเซลเซียส ภาพประกอบ 4: การเปลี่ยนแปลงของจํานวนวันที่ “รอน” ในรอบหนึ่งปในประเทศไทยตามผลของ แบบจําลองทางคณิตศาสตร – ในระยะยาวแลว ชวงเวลาที่อากาศรอนในพื้นที่สวนใหญของประเทศไทยจะ เพิ่มสูงขึ้นประมาณ 2-8 สัปดาหตอป หนวย: วัน อนาคต 80 ป ปจจุบัน อนาคต 40 ป เชียงราย 132 125 152 เชียงใหม 119 131 160 พิษณุโลก 73 67 102 ตาก 54 44 70 ขอนแกน 128 114 148 อุบลราชธานี 104 96 130 นครราชสีมา 121 116 159 ชัยนาท 190 185 246 กาญจนบุรี 89 69 115 นนทบุรี 125 119 178 ปราจีนบุรี 139 135 174 ชลบุรี 99 102 147 จันทบุรี 98 92 128 ตารางประกอบ 1: จํานวนวันที่ “อากาศรอน” โดยเฉลี่ยรายป (วันที่มีอุณหภูมิสูงสุดเกินกวา 33°C) ที่จุดตางๆ ในประเทศไทย และการเปลี่ยนแปลงของจํานวนวันที่ “อากาศรอน” ในรอบหนึ่งปในประเทศไทยตามผลของ แบบจําลองทางคณิตศาสตร ภาพประกอบ 5: การเปลี่ยนแปลงของจํานวนวันที่ “เย็น” ในรอบหนึ่งปในประเทศไทยตามผลของ แบบจําลองทางคณิตศาสตร - ในระยะยาวแลว ชวงเวลาที่อากาศเย็นในพื้นที่สวนใหญของประเทศไทย  จะหดสั้นลงประมาณ 4-8 สัปดาหตอป หนวย: วัน อนาคต 80 ป ปจจุบัน อนาคต 40 ป เชียงราย 126 128 90 เชียงใหม 118 142 111 พิษณุโลก 90 80 43 ตาก 97 52 18 ขอนแกน 60 101 51 อุบลราชธานี 28 20 1 นครราชสีมา 77 79 33 ชัยนาท 61 69 27 กาญจนบุรี 73 90 40 นนทบุรี 21 10 0 ปราจีนบุรี 16 2 0 ชลบุรี 16 6 0 จันทบุรี 17 0 0 ตารางประกอบ 2: จํานวนวันที่ “อากาศเย็น” โดยเฉลี่ยรายป (วันที่มีอุณหภูมิต่ําสุดต่ํากวา 15°C) ที่จุดตางๆ ในประเทศไทย และการเปลี่ยนแปลงของจํานวนวันที่ “อากาศเย็น” ในรอบหนึ่งปในประเทศไทยตามผลของ แบบจําลองทางคณิตศาสตร เอกสารอางอิง: Chinvanno, S.

PDF document icon Doc_thai_4.pdf — PDF document, 760 kB (778903 bytes)